ประวัติความเป็นมาของทวีปแอฟริกา
ถึงแม้ว่าทวีปแอฟริกา จะเป็นที่รู้จักกันทั่วไปมาก่อน ในกลุ่มชาวยุโรปว่าเป็น ทวีปมืด หรือ กาฬทวีป (Dark Continent) ก็ตาม
แต่บริเวณตอนเหนือของทวีป เคยเป็นดินแดนที่ยอมรับกัน ในประวัติศาสตร์ว่าเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่เก่าที่สุด
บริเวณดังกล่าวได้แก่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไนล์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศยิอิปต์
อารยธรรมอียิปต์ เริ่มต้นเมื่อประมาณ 3,500 ปี ก่อนคริสต์กาล ความเจริญของอียิปต์บางอย่าง มีส่วน เสริมสร้างและเป็นรากฐานความเจริญของอารยธรรมยุโรปด้วย
ผลงานทางด้านศิลปวัฒนธรรม ของชาวอียิปต์นับว่าเด่นกว่าของชนชาติใดๆ ในสมัยเดียวกัน
ไม่ว่าจะเป็นด้านศิลปะหรือวัฒธรรม วิวัฒนาการ ของปกครองของชาวอียิปต์ ที่เริ่มต้นจากการรวมตัวเป็นหมู่บ้านในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มาเป็นสองอาณาจักรและรวมเป็นประเทศ รวมทั้งความสามารถในการจัดระบบการปกครองของกษัตริย์ ที่เน้นการดึงอำนาจมาสู่ศูนย์กลาง มีผลทำให้อียิปต์มีระบบการปกครอง ที่มั่นคงอย่างยิ่งในสมัยโบราณชาวอียิปต์ เป็นชนชาติแรกที่ให้มรดกแก่โลกทางด้านวัฒนธรรมภาษา กล่าวคือ เป็นชนชาติแรกที่ประดิษฐ์ตัวอักษร
ตัวอักษรอียิปต์รุ่นแรก คืออักษรเฮียโรกลิฟฟิค (Hieroglyphic) มีลักษณะเป็นอักษรภาพ ความเชื่อในศาสนาโดยเฉพาะความเชื่อในเรื่องการเวียนว่ายตายเกิด ซักนำให้ชาวอียิปต์ค้นคว้าการทำมัมมี่ เพื่อเก็บรักษาศพมิให้เน่าเปื่อย เพื่อรอการกลับคืนมาของวิญญาณ และยังเชื่อมโยงไปสู่ผลงานที่เด่นที่สุดทางด้านสถาปัตยกรรม คือการสร้างพีระมิด ซึ่งใช้เป็นสถานที่เก็บศพของฟาโรห์ นอกจากนี้ชาวอียิปต์ ยังมีความสามารถทางด้านการชลประทาน เลขคณิต เรขาคณิตและการแพทย์อีกด้วย
อาณาจักรอียิปต์โบราณ มีความเจริญรุ่งเรืองติดต่อกันมานานหลายพันปี จนกระทั่งระยะหลังได้ถูกต่างชาติ สับเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครอง อาทิเช่น อัลซีเรียน เปอร์เซียน กรีก โรมัน
โดยเฉพาะอาหรับ ที่เข้ามาครอบแทนที่โรมัน ใน ค.ศ. 1185 ซึ่งมีผลทำให้ดินแดนตอนเหนือของทวีปแอฟริกา รับถ่ายทอดวัฒนธรรมมุสลิมไว้ทั้งหมด
ส่วนการสำรวจภายในทวีปแอฟริกา เริ่มมีอย่าจริงจัง ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ภายหลังการปฎิวัติอุตสาหกรรม ทำให้เกิดความต้องการแสวงหาแหล่งวัตถุดิบใหม่ มาป้อนโรงงานอุตสาหกรรม แหล่งเชื้อเพลิงใหม่คือน้ำมัน แหล่งแร่ ทองคำ รวมทั้งแหล่งระบายพลเมือง ที่เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ชาวยุโรปจึงมีความเห็นว่า ทวีปแอฟริกาน่าจะเป็นดินแดนที่ช่วยแก้ปัญหาเหล่านั้นได้ จึงเริ่มให้ความสนใจที่จะเดินทางเข้าไปสำรวจภายในทวีป เพื่อจับจองไว้เป็นอาณานิคม แทนที่จะเดินทางสำรวจชายฝั่งทะเล อย่างที่เคยกระทำมา เมื่อครั้งเริ่มแสวงหาเส้นทางเดินเรือไปยังทวีปเอเซีย คริสต์ศตวรรษที่ 15 – 16 เบลเยียมเป็นชนชาติแรก ที่เริ่มเข้าไปบุกเบิก และได้ทำการจับจองบริเวณสองฝั่งแม่น้ำซาอีร์ (คองโก) ไว้ใน ค.ศ. 1876 บรรดาประเทศในยุโรปทั้งหลาย อังกฤษและฝรั่งเศสนับว่าเป็นคู่แข่งขันสำคัญในการยึดครองดินแดนในทวีปแอฟริกา ดินแดนของฝรั่งเศสส่วนใหญ่จะอยู่ในบริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ไปจนถึงทะเลทรายและฮารา ส่วนอังกฤษได้เข้าครอบครองบริบริเวณแอฟริกาทางเหนือ ตะวันตก ตะวันออก และตอนใต้ ซึ่งส่วนใหญ่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรมีค่า
นอกจากนี้ประเทศอื่น ๆ เช่น อิตาลี สเปน เยอรมัน โปรตุเกส ได้พากันยึดครองดินแดนต่าง ๆ จนในที่สุดเหลือประเทศที่เป็นอิสระเพียง 2 แห่ง คือ ไลบีเรีย และเอธิโอเปีย เท่านั้น
การแข่งขันในการแสวงหาอาณานิคมในทวีปแอฟริการดังกล่าวนำไปสู่ความขัดแย้งกัน ระหว่างประเทศมหาอำนาจ และเป็นสาเหตุหนึ่งของสงครามโลก ครั้งที่ 1 (ค.ศ.1914 – 1918) นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ.1939 – 1945 ) เป็นต้นมา ประเทศต่าง ๆ ในทวีปแอฟริกา ต่างก็ดิ้นรนในการเรียกร้องเอกราชกันเรื่อยมา และต่างก็ประสบความสำเร็จในการปกครองตนเอง อย่างไรก็ตาม การที่แอฟริกาเป็นทวีปใหญ่ที่ประกอบด้วยประเทศใหญ่เล็กมากมาย
จึงเป็นดินแดนที่ต้องเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ปัญหาสำคัญที่สุดคือปัญหา ทางเศรษฐกิจสังคม ที่นำไปสู่การขาดความมั่นคง ทางการเมืองในหลายประเทศ
นอกจากนี้ยังมีปัญหาอันเกิดจากนโยบายการแบ่งแยกผิว คือนโยบายอะพาร์ดไฮต์ (Apartheid) ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ที่รัฐบาลเป็นคนผิวขาว และชนผิวดำไม่ได้รับความเป็นธรรม ซึ่งยังเป็นปัญหาที่แก้ไขไม่ได้มาในปัจจุบัน
ประวัติความเป็นมาของทวีปแอฟริกา
ถึงแม้ว่าทวีปแอฟริกา จะเป็นที่รู้จักกันทั่วไปมาก่อน ในกลุ่มชาวยุโรปว่าเป็น ทวีปมืด หรือ กาฬทวีป (Dark Continent) ก็ตาม
แต่บริเวณตอนเหนือของทวีป เคยเป็นดินแดนที่ยอมรับกัน ในประวัติศาสตร์ว่าเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่เก่าที่สุด
บริเวณดังกล่าวได้แก่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไนล์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศยิอิปต์
อารยธรรมอียิปต์ เริ่มต้นเมื่อประมาณ 3,500 ปี ก่อนคริสต์กาล ความเจริญของอียิปต์บางอย่าง มีส่วน เสริมสร้างและเป็นรากฐานความเจริญของอารยธรรมยุโรปด้วย
ผลงานทางด้านศิลปวัฒนธรรม ของชาวอียิปต์นับว่าเด่นกว่าของชนชาติใดๆ ในสมัยเดียวกัน
ไม่ว่าจะเป็นด้านศิลปะหรือวัฒธรรม วิวัฒนาการ ของปกครองของชาวอียิปต์ ที่เริ่มต้นจากการรวมตัวเป็นหมู่บ้านในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มาเป็นสองอาณาจักรและรวมเป็นประเทศ รวมทั้งความสามารถในการจัดระบบการปกครองของกษัตริย์ ที่เน้นการดึงอำนาจมาสู่ศูนย์กลาง มีผลทำให้อียิปต์มีระบบการปกครอง ที่มั่นคงอย่างยิ่งในสมัยโบราณชาวอียิปต์ เป็นชนชาติแรกที่ให้มรดกแก่โลกทางด้านวัฒนธรรมภาษา กล่าวคือ เป็นชนชาติแรกที่ประดิษฐ์ตัวอักษร
ตัวอักษรอียิปต์รุ่นแรก คืออักษรเฮียโรกลิฟฟิค (Hieroglyphic) มีลักษณะเป็นอักษรภาพ ความเชื่อในศาสนาโดยเฉพาะความเชื่อในเรื่องการเวียนว่ายตายเกิด ซักนำให้ชาวอียิปต์ค้นคว้าการทำมัมมี่ เพื่อเก็บรักษาศพมิให้เน่าเปื่อย เพื่อรอการกลับคืนมาของวิญญาณ และยังเชื่อมโยงไปสู่ผลงานที่เด่นที่สุดทางด้านสถาปัตยกรรม คือการสร้างพีระมิด ซึ่งใช้เป็นสถานที่เก็บศพของฟาโรห์ นอกจากนี้ชาวอียิปต์ ยังมีความสามารถทางด้านการชลประทาน เลขคณิต เรขาคณิตและการแพทย์อีกด้วย
อาณาจักรอียิปต์โบราณ มีความเจริญรุ่งเรืองติดต่อกันมานานหลายพันปี จนกระทั่งระยะหลังได้ถูกต่างชาติ สับเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครอง อาทิเช่น อัลซีเรียน เปอร์เซียน กรีก โรมัน
โดยเฉพาะอาหรับ ที่เข้ามาครอบแทนที่โรมัน ใน ค.ศ. 1185 ซึ่งมีผลทำให้ดินแดนตอนเหนือของทวีปแอฟริกา รับถ่ายทอดวัฒนธรรมมุสลิมไว้ทั้งหมด
ส่วนการสำรวจภายในทวีปแอฟริกา เริ่มมีอย่าจริงจัง ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ภายหลังการปฎิวัติอุตสาหกรรม ทำให้เกิดความต้องการแสวงหาแหล่งวัตถุดิบใหม่ มาป้อนโรงงานอุตสาหกรรม แหล่งเชื้อเพลิงใหม่คือน้ำมัน แหล่งแร่ ทองคำ รวมทั้งแหล่งระบายพลเมือง ที่เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ชาวยุโรปจึงมีความเห็นว่า ทวีปแอฟริกาน่าจะเป็นดินแดนที่ช่วยแก้ปัญหาเหล่านั้นได้ จึงเริ่มให้ความสนใจที่จะเดินทางเข้าไปสำรวจภายในทวีป เพื่อจับจองไว้เป็นอาณานิคม แทนที่จะเดินทางสำรวจชายฝั่งทะเล อย่างที่เคยกระทำมา เมื่อครั้งเริ่มแสวงหาเส้นทางเดินเรือไปยังทวีปเอเซีย คริสต์ศตวรรษที่ 15 – 16 เบลเยียมเป็นชนชาติแรก ที่เริ่มเข้าไปบุกเบิก และได้ทำการจับจองบริเวณสองฝั่งแม่น้ำซาอีร์ (คองโก) ไว้ใน ค.ศ. 1876 บรรดาประเทศในยุโรปทั้งหลาย อังกฤษและฝรั่งเศสนับว่าเป็นคู่แข่งขันสำคัญในการยึดครองดินแดนในทวีปแอฟริกา ดินแดนของฝรั่งเศสส่วนใหญ่จะอยู่ในบริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ไปจนถึงทะเลทรายและฮารา ส่วนอังกฤษได้เข้าครอบครองบริบริเวณแอฟริกาทางเหนือ ตะวันตก ตะวันออก และตอนใต้ ซึ่งส่วนใหญ่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรมีค่า
นอกจากนี้ประเทศอื่น ๆ เช่น อิตาลี สเปน เยอรมัน โปรตุเกส ได้พากันยึดครองดินแดนต่าง ๆ จนในที่สุดเหลือประเทศที่เป็นอิสระเพียง 2 แห่ง คือ ไลบีเรีย และเอธิโอเปีย เท่านั้น
การแข่งขันในการแสวงหาอาณานิคมในทวีปแอฟริการดังกล่าวนำไปสู่ความขัดแย้งกัน ระหว่างประเทศมหาอำนาจ และเป็นสาเหตุหนึ่งของสงครามโลก ครั้งที่ 1 (ค.ศ.1914 – 1918) นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ.1939 – 1945 ) เป็นต้นมา ประเทศต่าง ๆ ในทวีปแอฟริกา ต่างก็ดิ้นรนในการเรียกร้องเอกราชกันเรื่อยมา และต่างก็ประสบความสำเร็จในการปกครองตนเอง อย่างไรก็ตาม การที่แอฟริกาเป็นทวีปใหญ่ที่ประกอบด้วยประเทศใหญ่เล็กมากมาย
จึงเป็นดินแดนที่ต้องเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ปัญหาสำคัญที่สุดคือปัญหา ทางเศรษฐกิจสังคม ที่นำไปสู่การขาดความมั่นคง ทางการเมืองในหลายประเทศ
นอกจากนี้ยังมีปัญหาอันเกิดจากนโยบายการแบ่งแยกผิว คือนโยบายอะพาร์ดไฮต์ (Apartheid) ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ที่รัฐบาลเป็นคนผิวขาว และชนผิวดำไม่ได้รับความเป็นธรรม ซึ่งยังเป็นปัญหาที่แก้ไขไม่ได้มาในปัจจุบัน
ถึงแม้ว่าทวีปแอฟริกา จะเป็นที่รู้จักกันทั่วไปมาก่อน ในกลุ่มชาวยุโรปว่าเป็น ทวีปมืด หรือ กาฬทวีป (Dark Continent) ก็ตาม
แต่บริเวณตอนเหนือของทวีป เคยเป็นดินแดนที่ยอมรับกัน ในประวัติศาสตร์ว่าเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่เก่าที่สุด
บริเวณดังกล่าวได้แก่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไนล์ ซึ่งเป็นที่ตั้งของประเทศยิอิปต์
อารยธรรมอียิปต์ เริ่มต้นเมื่อประมาณ 3,500 ปี ก่อนคริสต์กาล ความเจริญของอียิปต์บางอย่าง มีส่วน เสริมสร้างและเป็นรากฐานความเจริญของอารยธรรมยุโรปด้วย
ผลงานทางด้านศิลปวัฒนธรรม ของชาวอียิปต์นับว่าเด่นกว่าของชนชาติใดๆ ในสมัยเดียวกัน
ไม่ว่าจะเป็นด้านศิลปะหรือวัฒธรรม วิวัฒนาการ ของปกครองของชาวอียิปต์ ที่เริ่มต้นจากการรวมตัวเป็นหมู่บ้านในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มาเป็นสองอาณาจักรและรวมเป็นประเทศ รวมทั้งความสามารถในการจัดระบบการปกครองของกษัตริย์ ที่เน้นการดึงอำนาจมาสู่ศูนย์กลาง มีผลทำให้อียิปต์มีระบบการปกครอง ที่มั่นคงอย่างยิ่งในสมัยโบราณชาวอียิปต์ เป็นชนชาติแรกที่ให้มรดกแก่โลกทางด้านวัฒนธรรมภาษา กล่าวคือ เป็นชนชาติแรกที่ประดิษฐ์ตัวอักษร
ตัวอักษรอียิปต์รุ่นแรก คืออักษรเฮียโรกลิฟฟิค (Hieroglyphic) มีลักษณะเป็นอักษรภาพ ความเชื่อในศาสนาโดยเฉพาะความเชื่อในเรื่องการเวียนว่ายตายเกิด ซักนำให้ชาวอียิปต์ค้นคว้าการทำมัมมี่ เพื่อเก็บรักษาศพมิให้เน่าเปื่อย เพื่อรอการกลับคืนมาของวิญญาณ และยังเชื่อมโยงไปสู่ผลงานที่เด่นที่สุดทางด้านสถาปัตยกรรม คือการสร้างพีระมิด ซึ่งใช้เป็นสถานที่เก็บศพของฟาโรห์ นอกจากนี้ชาวอียิปต์ ยังมีความสามารถทางด้านการชลประทาน เลขคณิต เรขาคณิตและการแพทย์อีกด้วย
อาณาจักรอียิปต์โบราณ มีความเจริญรุ่งเรืองติดต่อกันมานานหลายพันปี จนกระทั่งระยะหลังได้ถูกต่างชาติ สับเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครอง อาทิเช่น อัลซีเรียน เปอร์เซียน กรีก โรมัน
โดยเฉพาะอาหรับ ที่เข้ามาครอบแทนที่โรมัน ใน ค.ศ. 1185 ซึ่งมีผลทำให้ดินแดนตอนเหนือของทวีปแอฟริกา รับถ่ายทอดวัฒนธรรมมุสลิมไว้ทั้งหมด
ส่วนการสำรวจภายในทวีปแอฟริกา เริ่มมีอย่าจริงจัง ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ภายหลังการปฎิวัติอุตสาหกรรม ทำให้เกิดความต้องการแสวงหาแหล่งวัตถุดิบใหม่ มาป้อนโรงงานอุตสาหกรรม แหล่งเชื้อเพลิงใหม่คือน้ำมัน แหล่งแร่ ทองคำ รวมทั้งแหล่งระบายพลเมือง ที่เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ชาวยุโรปจึงมีความเห็นว่า ทวีปแอฟริกาน่าจะเป็นดินแดนที่ช่วยแก้ปัญหาเหล่านั้นได้ จึงเริ่มให้ความสนใจที่จะเดินทางเข้าไปสำรวจภายในทวีป เพื่อจับจองไว้เป็นอาณานิคม แทนที่จะเดินทางสำรวจชายฝั่งทะเล อย่างที่เคยกระทำมา เมื่อครั้งเริ่มแสวงหาเส้นทางเดินเรือไปยังทวีปเอเซีย คริสต์ศตวรรษที่ 15 – 16 เบลเยียมเป็นชนชาติแรก ที่เริ่มเข้าไปบุกเบิก และได้ทำการจับจองบริเวณสองฝั่งแม่น้ำซาอีร์ (คองโก) ไว้ใน ค.ศ. 1876 บรรดาประเทศในยุโรปทั้งหลาย อังกฤษและฝรั่งเศสนับว่าเป็นคู่แข่งขันสำคัญในการยึดครองดินแดนในทวีปแอฟริกา ดินแดนของฝรั่งเศสส่วนใหญ่จะอยู่ในบริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ไปจนถึงทะเลทรายและฮารา ส่วนอังกฤษได้เข้าครอบครองบริบริเวณแอฟริกาทางเหนือ ตะวันตก ตะวันออก และตอนใต้ ซึ่งส่วนใหญ่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรมีค่า
นอกจากนี้ประเทศอื่น ๆ เช่น อิตาลี สเปน เยอรมัน โปรตุเกส ได้พากันยึดครองดินแดนต่าง ๆ จนในที่สุดเหลือประเทศที่เป็นอิสระเพียง 2 แห่ง คือ ไลบีเรีย และเอธิโอเปีย เท่านั้น
การแข่งขันในการแสวงหาอาณานิคมในทวีปแอฟริการดังกล่าวนำไปสู่ความขัดแย้งกัน ระหว่างประเทศมหาอำนาจ และเป็นสาเหตุหนึ่งของสงครามโลก ครั้งที่ 1 (ค.ศ.1914 – 1918) นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 (ค.ศ.1939 – 1945 ) เป็นต้นมา ประเทศต่าง ๆ ในทวีปแอฟริกา ต่างก็ดิ้นรนในการเรียกร้องเอกราชกันเรื่อยมา และต่างก็ประสบความสำเร็จในการปกครองตนเอง อย่างไรก็ตาม การที่แอฟริกาเป็นทวีปใหญ่ที่ประกอบด้วยประเทศใหญ่เล็กมากมาย
จึงเป็นดินแดนที่ต้องเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ปัญหาสำคัญที่สุดคือปัญหา ทางเศรษฐกิจสังคม ที่นำไปสู่การขาดความมั่นคง ทางการเมืองในหลายประเทศ
นอกจากนี้ยังมีปัญหาอันเกิดจากนโยบายการแบ่งแยกผิว คือนโยบายอะพาร์ดไฮต์ (Apartheid) ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ที่รัฐบาลเป็นคนผิวขาว และชนผิวดำไม่ได้รับความเป็นธรรม ซึ่งยังเป็นปัญหาที่แก้ไขไม่ได้มาในปัจจุบัน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น